วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

วิชา ระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกห้ดท้ายบทที่ 2
ตอนที่ 1  แบบปรนัย
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง(Table)ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ    ง. ออบเจ็กต์ที่เก็บข้อมูลในฐานข้อมูล
2.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
ตอบ    ง. Attachment เป็นชนิดข้อมูลสำหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์(Field)หมายถึงอะไร
ตอบ    ค. คอลัมน์
4.เรคคอร์ด(Record)หมายถึงอะไร
ตอบ     ง. ข้อมูล
5.ชนิดข้อมูลแบบ(Text)สามารถเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักษร
ตอบ      ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อมูลจำนวนมากๆจะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ      ก.  Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ       ก.  Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของข้อมูลมีกี่แบบ
ตอบ       ข.  3 แบบ
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นำมาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ       ง. เครื่องหมายจุด(.)
10.ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ        ก. Ascending




ตอนที่ 2  ให้นักเรียนจับคู่ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1.   ฌ     Field                                   ก.  กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
2.    ง      Record                               ข.  เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
3.    จ      Memo                                ค.  เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก
4.    ข     OLE object                         ง.  ข้อมูลในแนวแถว
5.    ซ     Currency                             จ.  เก็บข้อมูลประเภทข้อมูลที่มีความยาวมากๆ
6.    ญ    Attachment                          ฉ.  กำหนดรูปแบบแสดงข้อมูล
7.     ก     Input Mask                         ช.  เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
8.     ฉ    Format                                ซ.  เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
9.     ช     Descending                         ฌ.  ข้อมูลในแถวคอลัมน์
10.   ค     Ascending                           ญ.  เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล


ตอนที่ 3  แบบอัตนัย
1.จงอธิบายประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
          คือ การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพสูง  ผู้ใช้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว มีการจัดเป็นระเบียบ
2.จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก(Primary Key)
          คือ ข้อมูลของแอททริบิวท์มีความเป็นหนึ่งเดียว(Uniqueness) ทุกแถวของตารางจะต้องไม่มีข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลักซ้ำกันเลย
         ต้องประกอบด้วยจำนวนแอททริบิวท์ที่น้อยที่สุด()ที่จะสามารถใช้เจาะจงหรืออ้างอิงถึงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชันได้
3.อธิบายความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ(Table Design)และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล(Datasheet View)
       คือ     การสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ เป็นการกำหนดฟิลด์ข้อมูลของตาราง ชนิดข้อมูล และคุณสมบัติของฟิลด์แต่ละฟิลด์ แต่การสร้างตารางแผ่นตารางข้อมูลจะเป็นการป้อนข้อมูลที่จะเก็บไว้ในตาราง

4.จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
    1.คลิกเข้าไปในโปแกรม Microsoft Access 2007 แล้วเลือกที่ฐานข้อมูลเปล่า กำหนดชื่อฐานข้อมูล กำหนดไฟล์ที่ต้องการจะเก็บข้อมูล แล้วกด สร้าง
    2.คลิกเข้าไปที่เมนูมุมมองแล้ว เลือก เมนูการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ
    3.กำหนดชื่อของตาราง
    4.กำหนดชื่อของเขตของข้อมูล
    5.กำหนดชนิดของข้อมูล
    6.กำหนดชื่อคำอธิบายแล้วกำหนดขนาดของขอบเขตข้อมูล
5.ในการสร้างตารางด้วยแม่แบบ(Template)มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
             ข้อดี                                                                                     ข้อเสีย
ทำงานได้สะดวกและรวดเร็ว                                          จะไม่ตรงต่อความต้องการทั้งหมดแต่เรา                                                                                        สามารถเปลี่ยนเองได้       

วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554

วิชา ระบบการฐานข้อมูล

สรุปเนื้อหาหน่วยที่ 1

         ฐานข้อมูล(Database) คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง และข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นต่างมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งในการสร้างตารางเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นสิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรก หรือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่จะต้องนำไปใช้งานต่อไป       
        ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทกข้อมูลลงในฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน มีรูปแบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน เช่น ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ข้อมูลสินค้าคงคลัง ข้อมูลลูกค้า เป็นต้น เดิมจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูล เมื่อมีการจัดเก็บเป็นระบบฐานข้อมูล จะนำข้อมูลมาเก็บไว้ในฐานเดียวกัน  ทำให้หน่วยงานสามารถใช้ข้อมูลเดียวกัน  สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูล สามารถทำได้โดยผ่านตัวกลาง เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
           ประโยชน์ในการใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล
              1.ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
              2.ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
              3.ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล
              4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
              5.มีความปลอดภัย
             6.ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน
             7.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย

ข้อเสียในการใช้ฐานข้อมูล
  1. เสียค่าใช้จ่ายสูง
 2. เกิดการสูญเสียข้อมูลได้ 

หลักการออกแบบฐานข้อมูล
       ก่อนเริ่มสร้างฐานข้อมูล จำเป็นต้องทำการออกแบบฐานข้อมูล ซึ่งข้อมูลที่จะนำมาเก็บในฐานข้อมูลประกอบไปด้วยอะไรบ้าง  มีการจัดเก็บในรูปแบบใด มีขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล ดังนี้
1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด
2.ต้องการใช้เพื่อทำอะไร และต้องการอะไรบ้างจากระบบนี้ เช่นรายงานสรุปต่าง ๆ ต้องระบุให้ชัดเจน3.สอบถามความต้องการของผู้ใช้ว่าจะต้องป้อนข้อมูลใดบ้างเข้าสู่ระบบ  และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากระบบว่าต้องการอะไรบ้าง
4.วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด
5.จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บในระบบฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ว่าเป็นเรื่อง
6.วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง เพื่อกำหนดเขตข้อมูลหรือฟิลด์ข้อมูลให้ครบถ้วน
7.พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลด์หลัก (Primary Key) ของแต่ละตาราง
8.วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการ Normalization เพื่อให้ได้ตารางข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนและถูกต้อง
9.กำหนดชนิดข้อมูล (Data Type) ที่ต้องการจัดเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด
10.กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล (Relationship)
11.ออกแบบหน้าจอการใช้งาน
        กฎการNormalization
            เป็นกฎการออกแบบตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อน แก้ไขตารางได้ง่าย และถ้าเปลี่ยนแปลง    ข้อมูล จะมีผลกระทบต่อข้อมูลอื่นน้อยที่สุด ใช้กฎ Normalization เพียง 3 ข้อ ก็เพียงพอในการออกแบบตารางโดยทั่วไป
        การสร้าง Table
                    เมื่อคุณจัดการ Normalization เรียบร้อยแล้ว  ก็นำตารางที่ได้จากการ Normalization มาทำ Table  ในระดับโครงสร้าง-ฟิลด์  โดยกำหนดลักษณะข้อมูลแต่ละฟิลด์ และคุณสมบัติของฟิลด์
2. ทำการวัดและประเมินผลผลการผ่านจุดประสงค์
ตอนที่ 1 แบบปรนัย

     1. ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร
          ตอบ      ข.  ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
     2.  หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กต์ใดเป็นอันดับแรก
          ตอบ      ก.  Table
     3.  ออบเจ็กต์ใดที่ทำหน้าที่การเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล
          ตอบ      ค. Form
     4.  ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่ทำอะไร
          ตอบ      ค.  สร้างแบบสอบถามข้อมูล
     5.  ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็กต์ Form
          ตอบ      ข.  เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
     6.  ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช กฎของการ Normalization
          ตอบ      ข.  จะต้องมีความสัมพันธ์แบบเชิงกลุ่ม (Many-to-Many)
     7.  ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล
          ตอบ      ค.  ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
     8.  ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออบแบบฐานข้อมูล
          ตอบ      ก.  กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
     9.  ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้น ข้อใด
         ตอบ        ง.  Ribbon
     10.  ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
         ตอบ       ก.  เมื่อบันทึกฐานข้อมูลใน Access 2007 จะมีนามสกุล .accdb 
ตอนที่ 2   แบบจับคู่ ค าชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่คำต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1.  ช.  DBMS                                      ก. แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น 
2.  จ.  Normalization                           ข. แบบสอบถามข้อมูล    
3.  ซ.  Office Button                           ค. ส่วนของพื้นที่การทำงานของออบเจ็กต่าง ๆ
4.  ญ. Quick Access Toolbar              ง.  ชุดคำสั่งกระทำการต่าง ๆ ที่นำมารวมกัน   
5.  ฌ. Ribbon                                      จ.  กฎที่ใช้ในการออบแบบตาราง
6.  ก.  Navigation Pane                       ฉ. โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นภาษา VBA
7.  ค.  Document Window                   ช.  ระบบจัดการฐานข้อมูล
8.  ข.  Query                                        ซ.  ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
9.  ง.  Macro                                        ฌ.  ส่วนการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและแถบเครื่องมือ

10. ฉ. Module                                      ญ.  แถบเครื่องมือที่รวบรวมปุ่มเครื่องมือที่ใช้งานบ่อยๆ เอาไว้


ตอนที่ 3   แบบอัตนัย
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 
     

1.  จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
           ฐานข้อมูล  (Database)  คือข้อมูลจำวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง และข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นต่างมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งในการสร้างตารางเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นสิ่งที่ต้องทำป็นอันดับแรก หรือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่จะต้องนำปใช้งานต่อไป
      2.  ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร           

           1.  ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล เมื่อมีข้อมูลของหน่วยงานซึ่งจัดเก็บไว้หลายที่ อาจมีข้อมูลใน
ส่วนที่เหมือนกันหลายส่วน เช่น ฝ่ายบัญชี เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน และฝ่ายบุคคล เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน เมื่อนำคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูล จะทำห้ไม่เก็บข้อมูลซ้ำซ้อนกัน ซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้ เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และทำให้เกิดความรวดเร็วในการค้นหาและจัดเก็บข้อมูลอีกด้วย
            2.  ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล ถ้ามีการแก้ชื่อ ถ้ามีการแก้ชื่อ ที่อยู่ ที่ฝ่ายบุคคล ชื่อและ ที่อยู่ที่ฝ่ายบัญชีก็จะถูกเปลี่ยนแปลงด้วย เนื่องจากฝ่ายบัญชีจะดึงข้อมูลชื่อและที่อยู่จากฝ่ายบุคคลมาใช้ ดังนั้นเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลในที่ใดที่หนึ่ง ข้อมูลอีกที่หนึ่งก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย
            3.  ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ในการนำ เข้าข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล จะคอยควบคุมให้มีการน าเข้าข้อมูลเป็นไปตามกฎเกณฑ์เพื่อให้มีความถูกต้อง
            4.  สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ การเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน จะสามารถกำหนดรูป
แบบที่แน่นอนได้ และแต่ละฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้เพราะเป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถจัดให้ผู้ใช้แต่ละคนเข้าใช้ข้อมูลในแฟ้มที่มีข้อมูลเดียวกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น ฝ่ายบุคคลและฝ่ายการเงิน สามารถที่จะใช้ข้อมูลจากแฟ้มประวัติพนักงานในระบบฐานข้อมูลได้พร้อมกัน
            5.  มีความปลอดภัย การที่ข้อมูลมารวมอยู่ในที่เดียวกัน สามารถวางมาตรฐานในการแก้ไขและ ป้องกันได้ดีกว่า จึงไม่มีการรั่วไหลของข้อมูลไปสู่ผู้ไม่ควรรู้ และสามารถก าหนดรหัสผ่านเข้าใช้งานข้อมูลของผู้ใช้แต่ละราย โดยระบบการจัดการฐานข้อมูลจะท าการตรวจสอบสิทธิ์ในการท างานกับข้อมูล เช่น การเรียกดูข้อมูล การลบข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล และการเพิ่มข้อมูลในแต่ละแฟ้มข้อมูล เป็นต้น
            6.  ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ก่อนที่จะมีการจัดเก็บข้อมูล ต้องมีการตกลง
รูปแบบการเก็บอย่างเป็นเอกฉันท์เสียก่อน ท าให้ไม่เสียเวลาในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
            7.  ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแลปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมูลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และตรงกับความต้องการอยู่เสมอ
      3.  ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร
            1.Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
            2.Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
            3.Froms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
            4.Report ใช้ในการสร้างรายงาน
            5.Macros ชุดคำสั่งที่นำมาร่วมกันตามขั้นตอนในการทำงานเพื่อให้การทำงานเป็นอัตโนมัติ
            6.Modules ช่วยให้ทำงานกับข้อมูลที่ซับซ้อนมากขึ้นได้
      4.  จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอใจ
            ก่อนที่เราจะเริ่มสร้างฐานข้อมูลนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการออกแบบฐานข้อมูลเสียก่อน ว่าข้อมูลที่จะนำมาเก็บในฐานข้อมูลประกอบไปด้วยอะไรบ้าง และมีการจัดเก็บในรูปแบบใด แล้วค่อยเริ่มต้นสร้างฐานข้อมูล

      5.  จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
           งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่เกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆหลายอย่างมาเก็บข้อมูลไว้ได้ง่าย